Logo nipponnotsubo
ad head

Google
WWW を検索 nipponnotsubo.com を検索
facebooklogo
twitter
youtube
mixi
gree
niconico
หน้าแรก ความบันเทิง วัฒนธรรม ไลฟ์สไตล์ สังคม เทคโนโลยี แฟชั่น ธุรกิจ

อดีตอาจารย์อายุ 98ปี ขึ้นไปอยู่ที่แท่นยืนบรรยาย ความสามารถของภาษาประจำชาติบ่งบอกถึงพลังในการมีชีวิตอยู่

takeshi hashimoto

ฮาชิโมโตะ ทาเคชิอดีตอาจารย์อายุ 98ปี ยืนบนแท่นบรรยายของโรงเรียนมัธยมต้นนาดะ ซึ่งเป็นโรงเรียนสอนขนบธรรมเนียมประเพณีที่เมืองโกเบ จังหวัดเฮียวโงะ หลังจากห่างหายไป 27ปี ตอนที่อาจารย์ฮาชิโฒโตะยังเป็นอาจารย์อยู่นั้น สอนภาษาญี่ปุ่นแค่จากหนังสือนวนิยายที่ชื่อว่า "ช้อนเงิน"ตลอด 3 ปีให้กับเด็กนักเรียนมัธยมต้น ชั่วโมงเรียนนั้นถูกประเมินว่าเป็นคาบเรียนประเพณีของโรงเรียนมัธยมต้นนาดะ จึงนำกลับมาเปิดเป็นคอร์สเรียนวันเสาร์

ตำรวจ จ.ไอจิได้พิจารณาวิเคราะห์ว่า พวกผู้ชายที่คิดว่าได้นำไข่กับลูกๆ จากรังในป่ากลับออกมา นกเหล่านั้นเนี่ยจะเป็นของญี่ปุ่นจริงหรือไม่

ในคาบเรียนวิชานิทานปรัมปราที่กลับมาเปิดใหม่ เด็กนักเรียนชั้น ม.2 และม.3 เข้าร่วมฟังประมาณ 50คน พวกเด็กนักเรียนค่อยๆ ถูกดึงเข้าไปอยู่ในเรื่องเล่าที่มีเสน่ห์ของอาจารย์ฮาขิโมโตะซึ่งไม่ให้ความรู้สึกว่าเขาอายุ 98ปีแล้ว

หลังจากอาจารย์ฮาชิโมโตะจบการศึกษาจากวิทยาลัยครูชั้นสูงโตเกียว (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยทสึคุบะ)ก็ได้เริ่มงานที่โรงเรียนมัธยมต้นนาดะ เมื่อปี1934 รับผิดชอบฝ่ายวิชาภาษาญี่ปุ่นจนถึงปี 1984 ก็ลาออก

"ช้อนเงิน" ทำเป็นละครเวทีบริเวณที่มีพ่อค้าและช่างฝีมือของโตเกียวในสมัยเมจิ นากะ คันสุเกะผู้แต่งนั้น แต่งนวนิยายอัตชีวประวัติตัวเองซึ่งรวบรวมสมัยที่ยังเป็นเด็กที่ได้รับความรักของป้า หลังจากที่อาจารย์ฮาชิโมโตะเข้สทำงานที่โรงเรียนมัธยมต้นนาดะ เป็นเวลา 25ปีจนครบเกษียณนั้น ใช้แค่เอกสารที่ทำขึ้นเองเรื่อง "ช้อนเงิน"เป็นตำราเท่านั้น ไม่ใช่หนังสืออื่นเลย สอดแทรกความรู้ลงในเอกสารทำให้ตัวละครเอกอยู่ในยุคสมัยเดียวกันกับพวกนักเรียน และสอนความรู้ต่างๆ จากตรงนั้น ในบรรดาเด็กที่สอยก็มีคนที่อยากเป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงอยู่ด้วย

ช่วงที่อาจารย์ฮาขิโฒโตะทำงานที่โรงเรียนมัธยมต้นนาดะ ในช่วงหลังจากที่สงครามโลกครั้งที่สองจบลง ตำราเรียนของโรงเรียนถูกจัดระเบียบอย่างเข้มงวดโดยทหารฝ่ายพันธมิตรสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ อาจารย์เห็นตำราเรียนบางๆ ที่ทาสีดำจนทั่วแล้วก็คืดว่า "ของแบบนี้ไม่สามารถใช้ได้" ดังนั้นตัวเองก็ไม่เหลือความประทับใจ ตอนเรียนมัธยมต้นว่าได้เรียนวิชาแบบไหนบ้าง เลย ตอนนั้นจึงคิดว่าอยากจะสอนวิชาที่เหมือนกับสารอาหารความคิดที่ใช้ได้ตลอดชีวิต ดังนั้นจึงเลือกใช้หนังสือ "ช้อนเงิน"ซึ่งเป็นหนังสือที่ชอบสมัยอาจารย์เรียนวิทยาลัยครู

ตอนนั้นเมื่อเรียนจบจังทำให้กลายเป็นจริงโดยเปิดเป็นวิชาวันเสาร์ ฮาชิโมโตที่สวมหมวกเบเรท(หมวกทหาร)ถือไม้เท้าขึ้นไปบนแท่นบรรยาย อาจารย์บอกว่า "ได้ขึ้นมายืนอยู่บนแท่นบรรยายที่คิดถึงอีก อยากให้พวกคุณรู้สึกดีใจในการเรียนเรื่องช้อนเงินเหมือนกัน" ดังนั้นจึงบอกให้ทุกคนโดยใช้สำนวนที่ตัดมาจากกลอนทันกะ (ต้นกำเนิดของกลอนไฮคุ)

ยืนที่แท่นบรรยาย
ที่คำนึงหา
โดยไม่คาดฝัน
มีความสุข
ที่ได้สอนเรื่องเงิน

อาจารย์ฮาชิโมโตะบอกว่า "ถ้าสามารถเรียนรู้ด้วยประสาทสัมผัสเล่นๆ ก็จะดี"และยังบอกเหตุผลที่หยิบยกเรื่อง "ช้อนเงิน"มาเป็ฯเอกสารการเรียนการสอนด้วยว่า "เพราะว่าอยากจะสอนวิชาที่เหมือนกับสารอาหารความคิดที่ใช้ได้ตลอดชีวิต"

ในคาบเรียนแจกเอกสารที่ทำมือให้กับพวกนักเรียนเหมือนกับสมัยก่อน เมื่อให้ใส่หัวข้อของนวนิยาย และทำแบบทดสอบคำศัพท์ ก็กระตุ้นความคิดที่ไม่มีเลยเหมือนกับสมัยก่อน อาจารย์พูดดักไว้ตอนท้ายคาบว่า "ตั้งใจว่าตัวเองเป็นนักเขียน กรุณาค่อยๆ คิดไปด้วยผ่อนคลายไปด้วยนะครับ"จึงได้รับเสียงปรบมือดังมากๆ

พูดว่า "ภาษาประจำชาติเป็นพื้นฐานของตำราเรียนทั้งหมด ถ้าความสามารถทางด้านภาษาญี่ปุ่นอ่อน ความสามารถในการเข้าใจตำราอื่นๆ ก็ด้อยไปด้วย มีกระดูสันหลังของความสามารถในการเรียนรู้ ก็พูดได้ว่า มีพลังแห่งชีวิต คาบเรียนพิเศษที่กลับมาเปิดใหม่ มีแค่ 2ครั้ง แต่จะถ่ายทอดความสำคัญและเสน่ห์ของภาษาญี่ปุ่น อยากสอนเพื่อให้พวกนักเรียนสามารถนึกได้ตลอดชีวิต"

อาจารย์ทาคาฮาชิ หลังจากออกจากโรงเรียนนาดะไปตอนปี 1959ก็แปลนวนิยายเรื่องเกนจิโมโนกาตาริสมัยใหม่สำเร็จด้วยวัย 94ปี ตอนนี้ยังปฏิบัติหน้าที่ต่อไปอย่างมุ่งมั่น เช่น วิทยากรในการเรียนการสอนใก้เด็กเป็นศุนย์กลาง




98歳の元教師が、再び教壇に立った。国語力は「生きる力」と言う

98歳の元教師、橋本武(はしもと・たけし)さんが、27年ぶりに兵庫(ひょうご)県神戸(こうべ)市にある伝統校、灘(なだ)中学校の教壇に立った。橋本先生は教師をしていた時、中学生に対して、3年間かけて小説「銀の匙(ぎんのさじ)」だけをテキストにして国語を教えた。その授業は、灘中学の「伝説の授業」と評価されている。それが土曜講座として復活した。

愛知県警は、男たちが、山林の巣から、卵やヒナを持ち帰ったと考えて、これらの鳥が実際に日本産かどうかを鑑定する。

復活した伝説の授業には、この中学の2、3年生の生徒が約50人出席した。98歳という年齢を感じさせない、橋本先生の魅力的な語り口に、生徒たちは次第に引き込まれていった。

橋本先生は東京高等師範学校(現在の筑波(つくば)大)を卒業後、1934年に灘中学に赴任。1984年に退職するまで国語科を担当した。

「銀の匙(ぎんのさじ)」は、明治時代の東京の下町を舞台にしている。作者の中勘助(なか・かんすけ)が、伯母の愛情に包まれて過ごした少年期を綴った自伝小説だ。橋本先生は灘中学に赴任してから、退官するまでの25年間、「銀の匙」と自作のプリントだけを教材に使い、教科書は一切使わなかった。小説の主人公と同世代の生徒たちと一緒に、作品を読み込み、そこから多彩な知識を教えた。教え子の中には有名な作家になった人もいる。

橋本先生が灘中学に赴任した頃は、第二次世界大戦の終戦直後で、学校の教科書は米国と英国の連合軍によって厳しく規制されていた。先生は黒塗りだらけの薄い教科書を見て「こんなものは使えない」と思った。それに自分自身も、中学生のときにどんな授業を受けたのか、全く印象に残っていなかった。そこで「生涯心の糧となるような授業をしたい」と考えた。そして、先生が師範学校時代に心酔した「銀の匙」を使うことにした。

今回は卒業生らによる土曜講座として実現した。ベレー帽を被った橋本さんは、杖をついて教壇に上がった。先生は「懐かしの教壇にまた立てた。銀の匙を学ぶ喜びを君たちと共有したい」と語りかけた。そして次のような短歌(たんか=俳句の起源)をゆっくりとした口調で披露した。

懐かしき(なつかしき)
教壇に立ち(きょうだんにたち) 
はからずも(はからずも) 
銀の授業の(ぎんのじゅぎょうの)
  できる幸せ(できるしあわせ)

橋本先生は「遊ぶ感覚で学ぶことができたらいい」と言う。「銀の匙」を教材として取り上げた理由を、「生涯の心の糧になるような授業をしたかったから」と紹介した。

授業では生徒たちに、昔と同様に手作りのプリントを配布。小説の章の題を付けさせたり、語彙(ごい)力を試す質問をしたりと、以前と同様に縦横無尽に思考することを促した。先生は授業の最後を「自分が小説の作者になったつもりで、ゆっくりと味わいながら考えてください」と締め括った。そして大きな拍手が起きた。

「国語はすべての教科の基本。国語力が弱いと、他の教科の理解力も劣る。学ぶ力の背骨であり、「生きる力」といっていい。復活した特別授業は、たった2回だけだが、国語の魅力や大切さを伝え、生徒たちが一生思い出せるような授業にしたい」と話した。

橋本先生は1959年に灘校を去った後も、94歳で源氏物語の現代語訳を完成させたり、今もカルチャーセンターで講師を務めるなど、精力的に活動を続けている。

右上大型広告

ไปญีปุ่น

เที่ยวญี่ปุ่น
เรียนที่ญี่ปุ่น
ฝึกงานที่ญี่ปุ่น

กิจกรรมเกี่ยวกับญี่ปุ่น

เรียนภาษาญี่ปุ่นที่มหาวิทยาลัยในไทย
เรียนภาษาญี่ปุ่นที่โรงเรียนสอนภาษา
กินอาหารญี่ปุ่น

งานที่ใช้ภาษาญี่ปุ่น

รับสมัครพนักงานบริษัทญี่ปุ่น
รับสมัครพนักงานจากบริษัทจัดหางาน
งานล่าม・แปลภาษา

บอร์ดแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับญี่ปุ่น

facrebookของนิปปอน โนะ ซึโบ๊ะ
ข้อมูลงานเลี้ยงรุ่นที่เกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น
ลิงค์ข่าวสาร
Copyright © 2011 Nipponnotsubo.Inc.
All Right Reserved.
nipponnotsubo@gmail.com
nipponnotsubo@hotmail.com